Thursday, November 10, 2011

At 10.00 AM on October, 31, 2011, The Foundation at Lampang Camp was inform that the villager found elephant's dead body in the forest, far from Maetha substation around 21 km. Our field staffs with Mor Sak (Doctor Phethisak Sombatphuthorn, veterinarian of elephant's hospital) and the rangers from Doi Phamaung Wildlife Sanctuary hurry up to that scene. By the dead condition, they suppose it is Pang Boonmeenan because of long tail, small tusk, size of body and also coarse dungs. Her Majesty Queen Sirikit  released Pang Boonmeenan (From WWF)  on February 10, 2001  in Doi Phamaung Forest. She was 60 years old, microchip number was 003-310-355. She had  lived with Pang Thongbai which she died on May, 2010 then Pang Boonmeenan lived alone until she passed away. 
เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2554 เวลา 10.00 น. ทางมูลนิธิฯ ได้รับแจ้งจากชาวบ้านว่าพบช้างล้มอยู่ในป่าบริเวณลำห้วยแม่ยาว ห่างจากจุดหน่วยพิทักษ์ป่าแม่ทาประมาณ 21 กิโลเมตร เจ้าหน้าที่ภาคสนามของมูลนิธิฯ พร้อมด้วยนายสัตวแพทย์เพชรธิศักดิ์ สมบัติภูธร นายสัตวแพทย์จากโรงพยาบาลช้างลำปาง ร่วมกับเจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยผาเมือง เข้าไปตรวจสอบสภาพช้างโดยการสันนิษฐานของเจ้าหน้าที่ภาคสนามและสัตวแพทย์ คาดว่าเป็นช้างชื่อพังบุญมีน่าน เนื่องจากข้อมูลอ้างอิงจากรายงานการติดตามช้างล่าสุดในเดือนสิงหาคม - กันยายน 2554 และข้อมูลการใช้พื้นที่ที่ผ่านมา พบว่าพังบุญมีน่านใช้พื้นที่บริเวณลำห้วยแม่ยาว อีกทั้งมีการรวมกลุ่มกับช้างตัวอื่นบ้าง อาศัยอยู่ตัวเดียวบ้าง ทั้งนี้บริเวณพื้นที่ที่พบ มีร่องรอยของมูลช้างที่มีลักษณะหยาบ ลักษณะซากมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับตัวของพังบุญมีน่าน มีขนหางยาว และมีขนายอยู่ที่ตัวซากช้าง ซึ่งตรงกับลักษณะของพังบุญมีน่าน
พังบุญมี (น่าน) เป็นช้างที่ได้รับมอบจากโครงการ WWF (World Wildlife Fund) สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมรมชินีนาถ ทรงปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยผาเมือง จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2543 รหัสไมโครชิพ 003 – 310 – 355 อายุ 60 ปี หลังจากที่ปล่อยไปแล้วพังบุญมีน่านได้เข้าไปรวมกลุ่มอยู่กับพังทองใบ และใช้ชีวิตอยู่ในป่าดอยผาเมือง และช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 พังทองใบก็ได้ล้มจากพังบุญมีน่านไป พังบุญมีน่านได้ชีวิตอยู่ลำพังในป่าลำพังตัวเดียว และจากไปด้วยอายุที่มากแล้ว

1 comment:

Daniel Shawn Otis said...

Hello,

I am a researcher with the University of British Columbia (Canada) working on an academic report about the historical and religious significance of Thailand’s sacred white elephants. I am writing to you with the hope that you may be able to put me in contact with the Honourable M.L. Phiphatanachatr Diskul, the Royal Veterinary Surgeon responsible for the care of His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s white elephants. Any assistance that you could provide me would be greatly appreciated by both the University of British Columbia and the Social Sciences and Humanities Research Council of Canada, the government-sponsored academic granting agency that is funding my research.

Respectfully,
Daniel Otis

Research Associate
Social Sciences and Humanities Research Council of Canada

tel: (855) 12 930 427
e-mail: d.s.otis@gmail.com
Skype: d.s.otis