Wednesday, June 24, 2009

Eastern mole:ตัวตุ่น

(Our field staff found it in Doi Pha Maung forest เจ้าหน้าภาคสนามพบในป่าดอยผาเมือง)

ตุ่น Common name: Eastern mole

ชื่อวิทยาศาสตร์, Sciencetific name :Talpa micrura

Small and gray or brown, the Eastern mole has lovely velvety fur and a hairless tail. It can grow from about 4 to 7 inches long and lives in the moist sandy soil, very rarely seen above ground. The Eastern Mole has very thick claws for its size, that are helpful in its life burrowing below the ground. The Eastern Mole will spend most of it’s life beneath the surface of the earth.

Food : earthworms, larvae of various insects and other food prey

Mating takes place in spring time and about four weeks after mating the female will give birth to 3 to 5 offspring in an underground nest which she will line with fur, grass and dried out plant materials. It is far more common to see raised areas in the lawn than to see the actual Eastern Mole, and although they do do some damage to lawns, they also do a great deal of good by eating insects and other pests in the area. (http://www.itsnature.org/ground/mammals-land/eastern-mole/)

ตุ่นมีส่วนช่วยในการพรวนดิน ทำให้น้ำและอากาศในดินถ่ายเทได้ดี ตุ่น เป็นสัตว์สี่เท้าลักษณะคล้ายหนูนา ขาสั้น ลำตัวอ้วนและมีขนฟูกว่า ขนอ่อนนุ่มเหมือนผ้ากำมะหยี่ปกคลุมร่างกาย มีสีเทาดำ สีเหลือง หน้าทู่ มีหนวด มีหางเล็กสั้นประมาณ 1 นิ้ว เนื่องจากมีลำตัวที่อ้วนจ้ำม่ำ จึงทำให้มันเคลื่อนไหวช้า ไม่เปรียวอย่างหนู มีตาที่ดำสนิทและเล็กมาก ตุ่นจะขุดรูอยู่ในดิน โดยใช้เล็บเท้าที่แข็งแรงมากขุดดินให้เป็นโพรงอยู่ในรูใต้ดิน ใช้เท้าตะกุยดินส่งผ่านท้องไปด้านหลัง พอได้ดินมากแล้วจะม้วนตัวกลับเพื่อใช้ส่วนหัวดันกองดินขึ้นมาทิ้งที่ผิวดินเป็นกอง ๆ ปิดรูไว้ซึ่งเรียกว่า โขย จะทำโขยไว้หลาย ๆ แห่ง ห่างกันเป็นระยะ ๆ ใช้โพรงใต้ดินเป็นที่อยู่อาศัย และขุดรูเพื่อหาหัวไม้ รากไม้เป็นอาหาร ตุ่นออกลูกครั้งละประมาณ 3 - 8 ตัว เวลาอยู่ในรูจะอยู่ด้วยกันเป็นครอบครัว มันจะทำที่นอนที่ทำจากเศษหญ้านุ่ม ตุ่นจะหาอาหารโดยขุดอุโมงค์หรือรูเข้าไปยังแหล่งอาหารที่อยู่ใต้ดิน ไม่ขึ้นมาให้ผู้คนพบเห็นบนผิวดิน ภายในรูจะทำโพรงเป็นห้องเสบียงไว้เก็บอาหาร ในฤดูฝนซึ่งมีอาหารประเภทหัวที่อยู่ในดินมาก ช่วงนี้ประชากรตุ่นจึงมีมากเช่นกัน จะพบได้ทั่วไปตามป่ากลอย มันจ๊วก มันตีนช้าง มันกู้ มันแกว หัวบอนป่า บอนเบี้ยว หน่อไม้ที่อยู่ในดิน แห้วหมู เป็นต้น

No comments: