Thai Public Broadcasting Service (TPBS), the producer of Backpack Journalist TV Program arrive Sublankga Wildlife Sanctuary on July 8, 2017. TPBS would like to make a film about perform our field staff's duty on tracking elephants that have released back into the wild and interview people who co-ordinate this project such as Mr.Taweepoke Angkawanit (DVM), our field staff and Mr.Vasan Khomjinda, Chief of Sublankga Wildlife Sanctuary. The series of film is "Elephant go back home" and will be on air on Thai PBS channel at 13.00-14.00 on July 21,2017.
เช้าวันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม 2560 องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ผู้ผลิตรายการ Backpack Journalist ได้เข้าพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา จังหวัดลพบุรี เพื่อทำการบันทึกภาพการปฎิบัติภารกิจของเจ้าหน้าที่ภาคสนามในการลาดตระเวนติดตามช้างบ้านที่ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ พร้อมทั้งสัมภาษณ์ น.สพ.ทวีโภค อังควานิช นายสัตวแพทย์ที่ปรึกษามูลนิธิฯ เจ้าหน้าที่ประจำหน่วยปฎิบัติงานในพื้นที่ และนายวสันต์ กล่อมจินดา หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา ซึ่งวัตถุประสงค์ของการบันทึกเทปในครั้งนี้ มีเป้าหมายเพื่อสื่อสารให้ผู้ชมได้เห็นความสำคัญของช้าง ผ่านภารกิจความมุ่งมั่นของเจ้าหน้าที่และผู้มีจิตศรัทธาในการนำช้างกลับบ้าน โดยเทปชุดนี้ ใช้ชื่อว่า "ช้างคืนบ้าน" ในรายการ Backpack Journalist ทางสถานีทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS)วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม 60 เวลา 13.30 น. - 14.00 น.
ช้างบ้าน E.siamensis
ReplyDeleteช้างป่า E.m. indicus
ช้างป่าศรีลังกา E. maximus
ช้างค่อมสุมาตรา E. sumatranus
ช้างแคระกาลิมันตัน E. borneensis
ช้างเลียงยังไงก็ไม่ใช่ช้างป่าและไม่ใช่ช้างป่าเสียทุกตัว
ช้างเลี้ยงที่เป็นช้างบ้านก็มี สภาพร่างกายผิดกับช้างป่ามาก
ชนิดที่คืนสู่ธรรมชาติได้ในไทยเรามีเพียง
E.indicus และ E.maximus เท่านั้น ช้างป่าที่ยึดมาได้จากคน ไม่สามารถปล่อยป่าได้ทันที ยกเว้นแต่ว่าเห็นการจับซึ่งๆหน้า หรือถูกจับขังไว้ไม่เกิน 7 วัน ช้างป่าที่ยึดมาได้นั้น สภาพร่างกายผิดไปจากช้างปกติ มักมีร่องรอยการถูกทำร้าย มีความเจ็บป่วย ซึ่งไม่อาจปล่อยให้เผชิญชะตากรรมได้ เราต้องสร้างป่าเทียมให้อาศัยและคอยดูแลไปจนหมดอายุ
แล้วกวดขันอย่าให้ใครจับออกมาอีก
ส่วนช้างบ้าน สรีระร่างกายไม่เหมือนช้างป่า องค์ประกอบของร่างกายก็แตกต่างกันมากเหมือนกับเป็น ชนิดย่อย จนไม่สามารถใช้ชีวิตในป่าได้ ความแตกต่างตรงนี้ เองทำให้ช้างไม่ค่อยจะรอดชีวิตในป่า การคืนช้างสู่ธรรมชาติ ต้องอาสัยบุคลากรที่มีความรู้ด้านสัตวศาสตร์ สัตวบาล ชีววิทยา และสัตวแพทย์ มาเป็นผู้บริหารระดับสูงๆจนถึงสูงที่สุด เพื่อให้มีหารศึกษาถึงเรื่องของสัตวืกีบชนิดนี้อย่างเป็นทางการ มีการวิจัยอย่างแท้จริง
เราต้องรับฟังการปฏิเสธ การต่อต้าน การโต้เถียง จากคนที่มีวิชาด้านนี้ เพื่อแก้ไขให้ดีขึ้นๆเรื่อยๆ คืนช้างที่คนลักออกจากป่ากลับมาให้ได้มากขึ้น
สถานการณ์ปัจจุบัน ช้างได้เพิ่มประชากรมากขึ้นจนไม่อาจควบคุมได้ ระบบนิเวศวิทยาทั้งในป่า ในเมือง ชุมชน ไม่อาจรองรับได้ เนื่องจากช้างแพร่พันธุ์ได้เร็วมาก และไม่มีศัตรูตามธรรมชาติ ทั้งยังต้องการปริมาณอาหารอย่างมากมายมหาศาล ทำให้ช้างก่อปัญหาเรื่องรุกรานที่ของคนอยู่เสมอๆ
ReplyDeleteข่าวที่ลงเรื่องช้างป่าอาละวาดบ่อยๆ เกิดจากการเพิ่มประชากรอย่างไร้การควบคุมจนธรรมชาติไม่สมดุล
เรื่องนี้เราต้องมีมาตรการควบคุม อาจถึงขั้นมีการทำหมัน
วิทยาการในปัจจุบันสามารถคัดเลือกสายพันธุ์ช้างได้แล้ว และทำได้มานานกว่า 20 ปี ด้วยวิชาด้านการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ คาดว่าในอนาคตอีก 5 ปีข้างหน้าจะมีช้างจีเอ็มโอเข้ามาทดแทนช้างที่สูญเสียไป
ReplyDeleteสรีรวิทยาด้านสัตว์กีบจะยากหน่อย ต้องทำภาคปฏิบัติบ่อยๆ และมีเวลาอ่านหนังสือให้เกินวันละ 8 บบรทัด
ถ้ายากไปก็เอาเรื่องพืชที่เกี่ยวกับสัตว์ก็ได้