Website

Friday, November 21, 2008

ข้อมูลเต่าที่ปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ 21 พ.ย. 51

Siamese Box Terrapin: Cuora amboinensis
Appearance :A relatively small turtle, weighing appoximately 500 grams, with a small, dark-brown, flat shell which is too small for its head to retract in to. When young its head is orange-brown, as it grows older the color changes to dark-grown. Its mouth is sharp with strong clipping jaws. Its legs are too big to retract in to its shell, but its sharp claws are useful for scaling trees or rocks in case of avoiding danger. Its tail protrudes visibly outside its shell. Description :Settles near streams, waterholes, canal and ponds, prefering to stay on land than in water, entrenching itself in grass brushes. Regions : India, Indochina, Malaysia, Sumatra, Indonesia, Philippines, Central and Southern Thailand. in Resident along the pool, pond, canal, lake, prefer on the ground, Diet: Plants, vegetable, fruits, fish, shellfish, crab, shrimp Breeding: Breeding in the water, lay eggs on the ground, 2-3 eggs per time, more than one time a year. Status : Wildlife Protection of Thailand, Wildlife Preservation and Protection Act 1992 Conservation Status :VULNERABLE A1d + 2d (http://http://www.zoothailand.org/)
เต่าหับ จำนวน 2 ตัว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cuora amboinensis (Daudin,1802) ชื่อภาษาอังกฤษ: Siamese Box Terrapin ชื่อภาษาไทย: เต่าหับ ลักษณะจำเพาะ กระดองส่วนล่างมีลักษณะเป็นบานพับ ทำให้สามารถปิดได้คล้ายกล่อง หน้าและคอสีเหลือง ด้านบนหัวสีดำ และมีแถบสีดำ 3 แถบ ด้านข้างของหน้า กระดองส่วนล่างสีจาง มีจุดสีดำที่ขอบด้านนอกของแผ่นเกล็ดแต่ละแผ่น ด้านล่างของแผ่นเกล็ดบนขอบส่วนนอกของกระดอง ส่วนบนมีสีเหลืองและมีจุดสีดำตลอดแนวขอบ กระดองส่วนบนยาวเต็มที่ 22 เซ็นติเมตร การแพร่กระจาย พบบ่อยทางภาคใต้และภาคกลางของประเทศไทย และพบที่อินเดีย อินโดจีน มาเลเซีย สุมาตรา ชวา บอร์เนียว และ ฟิลิปปินส์ แหล่งที่อยู่อาศัย ในแหล่งน้ำและบนบก ในลำธารและบึงของป่า ที่ราบต่ำ นาข้าว และทางน้ำขนาดเล็กในป่าชายเลน บางครั้งพบอยู่ไกลจากแหล่งน้ำมาก อาหาร กินทั้งพืชและสัตว์ เป็นอาหารเช่น พืชบก พืชน้ำ เห็ด หนอน หอยทาก กุ้งและปู กฎหมายคุ้มครอง พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ 2535 ของประเทศไทย
Heosemys grandis

Distinguishing features: Head pale orange with faint black spots and streaks. Spikes in back edge of carapace. Pale vertebral keel on midline of carapace. Serrated rear margin of the carapace. Carapace is brown to olive gray in color. Plastron yellow with black lines radiating outward form a black blotch on each scute, although the black lines sometimes disappear in older animals. (Stuart et al., 2001)

Size: Carapace to 48 cm. (Stuart et al., 2001) Male/Female: Males have a slightly concave plastron and longer, thicker tails. Females have flat plastrons and shorter tails

Range: Thailand (in lowland an hill areas of western, southeastern, and peninsular regions), Laos (in lowland and hill areas in central and southern regions), Vietnam (in lowland and hill areas of central and southern regions), Cambodia (in lowland and hill areas), Malaysia (Peninsular) and southern Myanmar. (Stuart et al., 2001) Habitat: Aquatic. Streams and freshwater marshes at low to mid elevation. (Stuart et al., 2001) Key Threats: Hunting and trade

Diet: Omnivorous. Fruits, vegetation (especially leaves of water hyacinths), and animal matter. (Stuart et al., 2001)

(http://www.asianturtlenetwork.org/field_guide/Heosemys_grandis.htm) เต่าหวาย จำนวน 2 ตัว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Heosemys grandis (Gray,1860) ชื่อภาษาอังกฤษ: Orange-headed Temple Terrapin ชื่อภาษาไทย: เต่าหวาย ลักษณะจำเพาะ กระดองส่วนบนมีหนามแหลม และขอบสีดำ บริเวณที่ยกขึ้นของแผ่น เกล็ดสันหลังบนเส้นกลางของกระดองส่วนบนมีสีจาง กระดองส่วนล่างมีสีเหลือง มีเส้นสีดำเป็นแนวรัศมีออกจากตุ่มสีดำ บนแผ่นเกล็ดแต่ละแผ่น เส้นสีดำบางครั้งหายไปเมื่อเต่าอายุมากขึ้น หัวสีส้มอ่อน มีจุดหรือขีดสีดำจาง ลักษณะรอยต่อระหว่างแผ่นเกล็ดต้นขา และแผ่นเกล็ดทวารเป็นเส้นตรง กระดองส่วนล่างไม่เป็นบานพับ เป็นลักษณะที่ทำให้แยกออกจากเต่าใบไม้ กระดองส่วนบนยาวเต็มที่ 48 เซนติเมตร การแพร่กระจาย ประเทศไทย บริเวณที่ราบต่ำ และเนินเขาทางภาคตะวันตก ภาคตะวันออก และภาคใต้ พบในลาว เวียดนามและกัมพูชา แหล่งที่อยู่อาศัย ในแหล่งน้ำ ในลำธารและบึงน้ำจืด ที่ระดับความสูง ต่ำถึงสูงปานกลาง อาหาร กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น ผลไม้ พืชผัก (โดยเฉพาะใบของผักตบชวา) กฎหมายคุ้มครอง พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ 2535 ของประเทศไทย

Yellow-headed Temple Turtle : Hieremys annandalii

Appearance: Big turtle, weight 12 kg. Some leave it in the temple and called " temple turtle", have lotus green shape turtoise shell at young , called "lotus turtle". Growing- up, it change to oval shape with black color, called "pot turtle". Have green head with yellow patch when it is young and change to yellow when adult and found around the pool, called "pool turtle with yellow head" Regions: Middle of Thailand, Indochina and Malyasia in Resident along the pool, pond, canal Diet: vegetable, fruit Status: Wildlife Protection of Thailand, Wildlife Preservation and Protection Act 1992 Conservation Status:ENDANGERED A1 cd + 2d (See explanation to IUCN Red List Categories) Major Threats: 1. - Habitat Loss (primarily human induced); 2.2 - Trade (http://http://www.zoothailand.org/)

เต่าบัว จำนวน 15 ตัว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hieremys annandali (Boulenger,1903) ชื่อภาษาอังกฤษ: Yellow - headed Temple Turtle ชื่อภาษาไทย: เต่าบัว ลักษณะจำเพาะ กระดอง ของเต่าเต็มวัยมีลักษณะยกสูงและยาวไม่มีสันนูน หัวมีสีเทาและมีจุดประสีเหลืองและดำเล็ก ๆ และมีกรามสีเหลือง กระดองส่วนล่างมีสีเหลือง และ แต้มสีดำบนแผ่นเกล็ดและมีลักษณะเหมือนรอยเปื้อน แต่กระดองจะเป็นสีดำทั้งหมดเมื่ออายุเพิ่มขึ้น เต่าบัววัยอ่อนมีกระดองแบนกลมและมีสันสีเหลืองที่แผ่นเกล็ดสันหลังมีส่วน อ่อนอยู่ใจกลางกระดองส่วนล่างซึ่งมีสีเหลืองสม่ำเสมอ และมีเส้นสีเหลืองบนหัวสีดำ กระดองส่วนบนมีขนาดใหญ่ถึง 50 เซนติเมตร การแพร่กระจาย ประเทศไทยพบบริเวณที่ราบต่ำในภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคใต้บนแผ่นดินใหญ่ ลาวพบบริเวณที่ราบต่ำแม่น้ำโขง ทางตะวันตกเฉียงใต้ เวียดนามพบบริเวณที่ราบต่ำทางตอนใต้ กัมพูชาพบบริเวณที่ราบต่ำ แหล่งที่อยู่อาศัย อยู่ในแหล่งน้ำ หนองน้ำ บ่อน้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ ที่มีน้ำไหลช้าหรือน้ำนิ่งในบริเวณที่ราบและสามารถอยู่รอดได้บริเวณน้ำกร่อย อาหาร กินทั้งพืชเป็นอาหาร ใบบัวและก้านบัว พืชลอยน้ำและพืชริมน้ำ (บางครั้งพบกินหนอนและแมลงแต่ไม่บ่อยนัก) กฎหมายคุ้มครอง พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ 2535 ของประเทศไทย

Malayan Snail-eating Terrapin : (Malayemys subtrijuga)

Distribution: Malayemys subtrijuga occurs in northern Malaysia, Thailand, Cambodia, Laos, and southern Vietnam; it has possibly been introduced to Sumatra and Java (Van Dijk and Thirakhupt, in press).

Habitat: This turtle is an inhabitant of slow-moving water bodies with softbottoms and aquatic vegetation. It has been taken from ponds, canals, small streams, marshes, and rice paddies.Natural HistoryIn Thailand Malayemys subtrijuga nests in the dry season, from December to March. A clutch usually comprises 3-4 (5-6) eggs (Van Dijk and Thirakhupt, in press), but Nutphand (1979) reported clutches up to 10 eggs. The elongated, white, brittle-shelled eggs are 32-45 x 20-25 mm (Smith, 1931; Van Dijk and Thirakhupt, in press). Hatching of eggs collected in the wild (at 28-30°C) took an average of 167 days, but with large variations in hatching time—the last hatchling from the same clutch could emerge up to four months after the first (Srinarumol, 1995). Ewert (1979) reported that 11 hatchlings averaged 35.3 mm in carapace length.Malayemys subtrijuga is basically a snail eater; larger females also eat freshwater mussels (Van Dijk and Thirakhupt, in press). Nutphand (1979) additionally reported worms, aquatic insects, crustaceans, and small fish as part of its diet.

IUCN Red List Status (1996): Not listed. This turtle does poorly in captivity and should be strictly left in its natural habitat.(http://nlbif.eti.uva.nl/bis/turtles.php?menuentry=soorten&id=261)

เต่านา จำนวน 63 ตัว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Malayemys subtrijuga (Schlegel and Muller, 1844) ชื่อภาษาอังกฤษ: Malayan Snail- eating Terrapin ชื่อภาษาไทย: เต่านา ลักษณะจำเพาะ กระดองส่วนบนมีสันนูน 3 เส้น เห็นได้ชัดเจน และมีขอบเรียบ หัวใหญ่และมีลายเส้นสีเหลืองหรือสีขาว กระดองส่วนบนมี สีน้ำตาล และขอบสีครีมหรือสีเหลือง กระดองส่วนล่างมีสีเหลือง และแต้มสีดำบนแผ่นเกล็ด การแพร่กระจาย พบบริเวณที่ราบต่ำทั่วประเทศไทยและพบที่อินโดจีน มาเลเซียและ ชวา แหล่งที่อยู่อาศัย อยู่ในแหล่งน้ำ บริเวณที่มีพืชปกคลุมหนาแน่น แหล่งน้ำจืดที่ไหลช้าหรือน้ำนิ่ง แหล่งน้ำตื้นบริเวณที่ราบต่ำ เช่น หนองน้ำ คูคลองที่ขุดลอก และทุ่งนาที่มีน้ำท่วมขัง อาหาร กินสัตว์เป็นอาหาร หอยน้ำจืด กุ้งและบางครั้งกินหอยสองฝาขนาดเล็ก กฎหมายคุ้มครอง พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ 2535 ของประเทศไทย

No comments:

Post a Comment